ข่าวเด่นล่าสุดจากวิทยาลัย
ขอเชิญชวนร่วมบุญทอดกฐินมหากาลทาน สืบสานวัฒนธรรม..
ขอเชิญชวนร่วมบุญทอดกฐินมหากาลทาน สืบสานวัฒนธรรมอันดี ประเพณีชาวพุทธ วิทยาลัยอาชี... 12/10/2567
ปฏิทินการปิด-เปิด ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2567..
... 12/10/2567
โครงการอบรมปฎิบัติการผู้บริหาร​ ครู​..
... 12/10/2567

หลักสูตรการเรียนการสอนของวิทยาลัยอาชีวศึกษาจุลมณีศรีสะเกษ

ตามหลัก พุทธบริหารการศึกษา Buddhist Education Management

 
หลักพุทธธรรม
แนวทางการใช้
วิถีปฏิบัติ
ตัวชี้วัดผล
ผู้บริหาร
-เจ้าของกิจการ
-ผู้อำนวยการ หัวหน้างาน
ทศพิธราชธรรม
สัปปุริสธรรม
ความพอเพียง
สอนให้รู้
ทำให้ดู
อยู่ให้เห็น
๑.ประชุมครู/บุคลากร
๒.ปฐมนิเทศนักเรียนผู้ปกครอง
๓.ปฏิบัติเป็นตัวอย่างต้นแบบ
-ผู้บริหารตัวอย่าง
-ผู้ร่วมงานเคารพรัก
-เป็นที่ปรึกษา
         
การบริหารจัดการ
-อำนวยการ/บริหาร ทั่วไป
-การเรียนการสอน
-อาคารสถานที่
-บุคลากรภายใน
สัปปายะ ๗
สามัคคีธรรม
ไตรสิกขา
อิทธิบาท
-ปริยัติ ปฏิบัติ ปฏิเวธ
-ให้เนื้อหา
- พาฝึกกิจกรรม
-คิดทำพัฒนาปรับปรุง แก้ไข
-ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
๑.กำหนดแผนยุทธศาสตร์
๒.วางแผนปฏิบัติการ
๓.ลงมือทำ
๔.แบ่งปันรับผิดชอบ
๕..ประชุมตามกรอบเป็นเนืองนิตย์
๖..เร่งผลิตผลงาน
-งานเป็นระบบ
-บรรยากาศน่าทำงาน
-กิจการก้าวหน้า
-ผู้ติดต่อพอใจ
-ได้รับการกล่าวขวัญ
         
กิจกรรมปฏิบัติ
๑.ในชั้นเรียน ในโรงเรียน
๒.ที่บ้าน และในสังคม
๓.วันสำคัญทางศาสนา และโอกาสพิเศษ
๔.จิตอาสาพัฒนาชุมชน
-มนสิการพระ
-ธรรมเสวนา
-โยนิโสมนสิการ
-ปรโตโฆสะ
-สงบใจทบทวน
-ระลึกถึงการทำดี
-ฝึกคิดไตร่ตรองปัญหา
-นำพาคิดสร้างสรรค์
-พากันค้นคว้า
-ค้นหาวิธี กันเป็นทีม
-สวดมนต์ สมาธิ ก่อนเรียน และ ก่อนทำงาน
-ทำต่อเนื่องเป็นระยะๆ (ชินสาสมาธิ)
- เรียนรู้จากปัญหา
- เสวนาช่วยกันแก้
- ออกแบบงานให้ทำ
-ปฏิบัติเป็นวิถีชีวิตประจำวัน
-คิดมีเหตุผลขึ้น
-กล้าทำความดี
-มีจิตอาสา
-ความสำนึกรับผิดชอบ
         
สื่อ / อุปกรณ์สนับสนุน
๑.ในสำนักงานในชั้นเรียน
๒.ที่บ้าน และในสังคม
๓.วันสำคัญ โอกาสพิเศษ
สภาวธรรมปัจจุบัน
-ธรรมชาติทุกอย่างเป็นสื่อ
-เตรียมการล่วงหน้า
-คว้าเอาปัจจุบัน
-สร้างสรรค์ปรุงแต่ง
-ใช้ของที่โรงเรียนมี
-อยู่บ้านใช้ของที่บ้าน
-อยู่ในสังคม ฝึกการประยุกต์ใช้เท่าที่มี
-ฝึกทุกครั้งที่นึกได้
-ทำชีวิตให้เป็นปัจจุบันขณะ
-ตัวเองรู้สึกพอใจสบายใจ
-ไม่รู้สึกบีบรัด
-ต้องการ แนะนำให้ผู้อื่นฝึก
         
ครู /บุคลากร /ผู้เรียน
ฝึก ๕ ห้องชีวิต
๑.ห้องนอน
๒.ห้องน้ำ
๓.ห้องแต่งตัว
๔.ห้องอาหาร
๕.ห้องเรียน
อิทธิบาทปัญญาวุฒิธรรม
-สอนให้รู้
-ทำให้ดู
-อยู่ให้เห็น
-คิดให้เป็น
-ใจเย็นๆค่อยๆ ฝึกสอน
-อธิบายประโยชน์
-ประชุมตกลงร่วม
-ฝึก ๕ ห้องชีวิต ชีวิตประจำทุกวัน
-ฝึกลมหายใจ ทำบ่อยๆที่นึกได้
-จนสามารถฝึกได้อย่างต่อเนื่องในขณะทำงาน
-ติดตามผู้รู้
-ฟังครูสอน
-คิดย้อนแยบยล
-ฝึกฝนจนชำนาญ
         
สภาพแวดล้อม
-สำนักงาน
-อาคารสถานที่
-ห้องเรียน
-ที่บ้าน
ธรรมชาติสัปปายะ
ถูกที่
ถูกเวลา
ถูกอัธยาศัย
-ร่วมวางแผนพัฒนา สภาพแวดล้อม
-ปฏิบัติไปตามแผน
-ทดสอบใช้ ตามสถานที่ที่ได้ปรับปรุง
-คิดเปลี่ยนแปลง ปรับปรุงเสมอ
-ความรู้สึกสัมผัสที่ดี
-ใช้ได้ตรงตามประโยชน์ของทุกคน
         
การกำกับติดตามผล
-การอำนวยการ /บริหารทั่วไป
-การจัดการเรียนการ สอน
-การพัฒนาบุคลากร
-ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน
-ความสัมพันธ์ชุมชน
-ผลประโยชน์ในภาพรวม
สังคหวัตถุ ๔
พละ๕
-กาย วาจา
-อารมณ์ ใจ
-ปัญญา
-สังคม
-ใช้สมุดบันทึกความดีประจำตัวและการประเมินตนเอง
-แลกเปลี่ยนการอ่านบันทึกความดี
-ใช้การประเมิน แบบสังคมมิติ ต่างคนต่างประเมินให้กัน
-ทาน
-ปิยะวาจา
- อัตถจริย
- สมานัตตตา
- ศรัทธา
- วิริยา
- สติ
- สมาธิ
- ปัญญา

 

แผนการจัดการเรียนการสอนรายวิชา ในภาพรวม ของวิทยาลัยอาชีวศึกษาจุลมณีศีรษะเกษ

 
หลักพุทธธรรม
แนวทางการนำไปใช้
การปฏิบัติการสอน
ตัวชี้วัดผล
ผู้บริหาร
รายวิชา / เนื้อหา
สัจธรรม
กลั่นกรอง คัดสรรเนื้อหา ที่ถูกต้องจากหลายแหล่ง
เตรียมเนื้อหา สรุปเป็นประเด็น
คิดกิจกรรมให้ฝึกสอดคล้องกัน
คิดปัญหา ให้แก้ไขฝึกปัญญา
ผู้เรียนสนใจ
ตั้งใจเรียน
         
ครูผู้สอน
กัลยาณมิตรธรรม ๗
ปิโย ครุ ภาวนิโย วัตต
วจนกขโม คัมภีรญจ โน จฎฐาเน
ฝีกตนเป็นประจำ
ทำได้ในสิ่งที่สอน
เตรียมเอกสารคำสอน
เตรียมอุปกรณ์ที่เป็นสื่อ
เตรียมเครื่องมือแบบฝึกหัด
เตรียมบันทึกการวัดผล
เป็นที่รักเคารพ ที่ปรึกษา ของนักเรียน
         
การจัดการเรียนการสอน
ไตรสิกขา
เน้นการฝึกปฏิบัติให้มาก
-ปริยัติ ปฏิบัติ ปฏิเวธ
-ฝึกลมหายใจ ก่อนสอน
-เริ่มสอนเนื้อหา
-พาปฏิบัติฝึกหัดกิจกรรม
-นำสร้างปัญญา พัฒนาปรับปรุงแก้ไข
-สงบจิตภาวนา ก่อนสอน
-ปฏิบัติตามขั้นตอนที่เตรียม
-แบ่งกลุ่มเรียนเป็นทีม
-ถามตอบเป็นระบบ
-สมทบด้วยอภิปราย
-ขยายด้วยฝึกปฏิบัติ
-หัดคิดแก้ปัญหา
-พาเฉลยกันเป็นทีม
นักเรียนมีสมาธิดี จิตสงบตั้งใจขึ้นสนุกกับการเรียน มีความสุข กับการเรียน มีสามัคคีเกิดในกลุ่ม
         
กิจกรรมการสอน
-ฝึกในห้องเรียน
-ปฏิบัติในโรงเรียน
-ปฏิบัติที่บ้าน
-ประพฤติในสังคม
ระเบียบวินัยในตนเอง
ระเบียบวินัยส่วนร่วมความรับผิดชอบ ความสะอาด ประหยัด ความเอื้อเฟื้อ แบ่งปันเมตตา
กรุณา ศรัทธาต่อความดี จิตอาสา
ฝึก ๕ ห้องชีวิต
-ห้องนอน
-ห้องน้ำ
-ห้องแต่งตัว
-ห้องอาหาร
-ห้องเรียน
-ทำความสะอาดห้องน้ำหลัง จากการใช้ทุกครั้งไม่ว่าที่ไหน
-ทานอาหารพร้อมกันทั้งที่บ้านและโรงเรียน( ประหยัด แบ่งปันสะอาด ครบหมู่ พอเพียง)
-เก็บโต๊ะเก้าอี้ ทำความสะอาดหลังเลิกเรียน
-เก็บที่นอนให้เรียบร้อย
-แต่งตัวอย่างประหยัด ซักรีดด้วยตนเอง
สะอาด ประหยัด รับผิดชอบมีวินัยเป็นระเบียบเรียบร้อยพอเพียง เอื้อเฟื้อ สร้างประโยชน์ จิตสำนึกดี
         
สื่อ/อุปกรณ์การสอน
ธรรมชาติ ของจริง
สร้างเสริมเพิ่มเติมประกอบ
ใช้สื่อธรรมชาติ และของจริง เป็นหลัก
-สอนจากข้อมูลจริง
-ฝึกวิเคราะห์ ภาพ
- ข่าวประจำวัน
-ความสนใจ
-ความกระตือรือร้น
         
ผู้เรียน
สุ จิ ปุ ลิ
อิทธิบาท
ประกวด แข่งขัน ให้รางวัลการทำดี
-ประกวด ทักษะ ความรู้ แข่งขัน เดี่ยว / กลุ่ม / ยกชั้น
- ความตั้งใจ
- สมาธิ
- ระเบียบ
- วินัย
- สามัคคี
         
การวัด-ประเมินผล
คุณภาพชีวิต
กาย จิตใจ ปัญญา สังคม
วัดผล เป็นระยะๆ
ก่อนเรียน
บันทึกรายวัน รายอาทิตย์ สรุปทุก ๑ เดือน
มีการพัฒนาพฤติกรรม
กายวาจา ที่สะท้อนการพัฒนาจิตใจ
ปัญญา และสังคม


หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ  ( ปวช. ) พุทธศักราช ๒๕๖๒
    ประเภทวิชาอุตสาหกรรม     
          สาขาวิชาช่างยนต์ 1. สาขางานยานยนต์ 2. สาขางานตัวถังและสีรถยนต์
          สาขาวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์ 1. สาขางานอิเล็กทรอนิกส์
    ประเภทวิชาพาณิชยกรรม   
        สาขาวิชาการบัญชี     1. สาขางานการบัญชี
        สาขาวิชาการเลขานุการ       1. สาขางานการเลขานุการ
        สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ    1. สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
        สาขาวิชาธุรกิจค้าปลีก          1. สาขางานธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่
   ประเภทวิชาคหกรรม            
       สาขาวิชาแฟชั่นและสิ่งทอ                1. สาขางานเสื้อผ้าแฟชั่น
       สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ           2. สาขางานอาหารและโภชนาการ

   ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว     
        สาขาวิชาการโรงแรม            1. สาขางานการโรงแรม (ทวิภาคี)

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. ) พุทธศักราช ๒๕๖๓
ประเภทวิชาอุตสาหกรรม     
สาขาวิชาเทคนิคเครื่องกล    สาขางานเทคนิคยานยนต์
สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์        อิเล็กทรอนิกส์อุตสหกรรม
ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ
สาขาวิชาการบัญชี สาขางานการบัญชี
สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล           สาขางานธุรกจิดิจิทล
 

ปฏิทินกิจกรรมวิทยาลัย
ถิรญาณี
ทั้งหมด
© 2024 chulamani.ac.th All Rights Reserved